รู้จักฮอร์โมน AMH หนึ่งในสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก

สำหรับผู้ที่กำลังทำ IVF อยู่ หรือ เคยทำ IVF มาแล้วแต่ยังไม่สำเร็จ คงคุ้นเคยกับเจ้าฮอร์โมน AMH (ฮอร์โมนการทำงานของรังไข่) เป็นอย่างดี ในรายที่มีค่า AMH ปกติ (อยู่ในช่วง 1 – 4 ng/ml) ถือว่าคุณผ่านด่านแรกของการรักษาผู้มีบุตรยากแล้ว แต่สำหรับสาวๆที่มีค่า AMH ผิดปกติ ไม่ว่าจะสูงกว่า หรือ ต่ำกว่า อย่าเพิ่งหมดหวัง คุณยังมีโอกาสท้อง

หากค่า AMH สูงกว่าปกติ (มากกว่า 4 ng/ml) คุณอาจอยู่ในภาวะการเป็นโรคถุงน้ำในรังไข่หลายใบ หรือ PCOS (Polycystic ovary syndrome) สาเหตุของการมีบุตรยาก และตั้งครรภ์แล้วแท้ง ต้องรีบปรึกษาคุณหมอนะคะ
หากค่า AMH ต่ำ (อยู่ในช่วง 0.3 – 1 ng/ml) แสดงว่าคุณอยู่ในความเสี่ยงของภาวะมีบุตรยากสูงขึ้น แต่สามารถรักษาได้ด้วยการปรับยากระตุ้นไข่โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ควบคู่ไปกับการตรวจโครโมโซมด้วยเทคโนโลยี NGS

สำหรับใครที่กำลังเผชิญกับปัญหาเหล่านี้อยู่ หรือยังไม่ท้องซักที คลินิกไอดับบลิวซี (IWC) โดยคุณหมอภัทรภูมิยินดีให้คำปรึกษา และดูแลคุณอย่างใกล้ชิด ติดต่อเราได้เลยนะคะ

IVF Clinic

ข่าวล่าสุด

การแช่แข็งอสุจิ (Sperm Freezing)

ร่างกายของเพศชายจะเริ่มผลิตอสุจิเมื่ออายุได้ประมาณ 11-13 ปี และจะมีการ...
READ MORE
การทำอิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร ? มีประโยนช์อย่างไร สำหรับคนที่มีภาวะบุตรยาก

การทำอิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร?

ภาวะมีบุตรยากสามารถเกิดขึ้นได้กับคู่สามีภรรยาทุกคู่ ทำให้ต้องทุกข์ใจจา...
READ MORE

การฝากไข่ หรือ การแช่แข็งเก็บรักษาเซลล์ไข่ (Egg Freezing / Oocyte Cryopreservation)

เพราะในศาสตร์การเจริญพันธุ์ อายุคือปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการตั้งครรภ์ใ...
READ MORE